โครงการประกวดสุดยอดพลังงานไทยระดับสากล ประจำปี 2024

 
 
ผู้เข้าชมทั้งหมด     218,047
สมาชิกทั้งหมด      415
ผู้ที่กำลังออนไลน์   7
 
 
  ผู้เข้าร่วมประกวดโครงการ
หน้าแรก ดาวน์โหลดเอกสาร เว็บบอร์ด ติดต่อเรา
 
 
 
 
 
 
 
          ในการพิจารณาผลงานดีเด่นด้านพลังงาน คณะกรรมการตัดสินการประกวดซึ่งประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ/นักวิชาการ
จากสถาบันการศึกษา ผู้แทนจากองค์กรหรือสมาคมวิชาชีพต่างๆ และผู้แทนจาก พพ. จะร่วมกันพิจารณาคัดเลือกผู้ที่มีผลงาน
ดีเด่นด้านพลังงาน โดยมีขั้นตอนการพิจารณา ดังนี้
 
ระบบจะทำการแสดงเกณฑ์การประกวดโดยแบ่งตามหัวข้อการประกวด
 
 
 
ประเภทโครงการพลังงานหมุนเวียนที่เชื่อมโยงกับระบบสายส่ง (On-Grid)
หมายถึง โครงการที่มีการพัฒนาการใช้พลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานจากแหล่ง
ชีวมวล เป็นต้น เป็นแหล่งพลังงานมาผลิตไฟฟ้าเพื่อจำหน่ายและมีการเชื่อมโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้าของการไฟฟ้า
 
คุณสมบัติเบื้องต้น
1.  มีการใช้งานจริง
2.  ดำเนินการมาแล้วอย่างน้อย 1 ปี
3.  เป็นโครงการที่ไม่เคยได้รับรางวัล Thailand Energy Awards
 
เกณฑ์การตัดสิน
 
  1 ความคิดริเริ่ม 10  
  2 การคำนึงถึงประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม 15  
  3 การพิจารณาด้านเทคนิค เศรษฐกิจและการตลาด 35  
  4 แผนการดำเนินการและการบำรุงรักษาโครงการ 20  
  5 ความสามารถนำเทคโนโลยีในโครงการไปใช้ในโครงการอื่นได้อย่างแพร่หลาย 15  
  6 รูปแบบการนำเสนอเอกสารและรายละเอียดโครงการ  5  
 
 
 
ประเภทโครงการพลังงานหมุนเวียนที่ไม่เชื่อมโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้า (Off-Grid)
หมายถึง โครงการที่มีการพัฒนาการใช้พลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานจากแหล่ง
ชีวมวล เป็นต้น เป็นแหล่งพลังงานมาผลิตไฟฟ้าใช้เองในกิจการโดยไม่มีการเชื่อมโยงเข้ากับระบบสายส่งไฟฟ้าของการไฟฟ้า หรือมาผลิตพลังงานความร้อน หรือพลังงานรูปแบบอื่นๆ
 
คุณสมบัติเบื้องต้น
1.  มีการใช้งานจริง
2.  ดำเนินการมาแล้วอย่างน้อย 1 ปี
3.  เป็นโครงการที่ไม่เคยได้รับรางวัล Thailand Energy Awards
 
เกณฑ์การตัดสิน
 
  1 ความคิดริเริ่ม 10  
  2 การคำนึงถึงประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม 15  
  3 การพิจารณาด้านเทคนิค เศรษฐกิจและการตลาด 35  
  4 แผนการดำเนินการและการบำรุงรักษาโครงการ 20  
  5 ความสามารถนำเทคโนโลยีในโครงการไปใช้ในโครงการอื่นได้อย่างแพร่หลาย 15  
  6 รูปแบบการนำเสนอเอกสารและรายละเอียดโครงการ  5  
 
 
 
ประเภทโครงการพลังงานความร้อนร่วมจากพลังงานหมุนเวียน (Cogeneration)
หมายถึง โครงการที่มีการพัฒนาการใช้พลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานจากแหล่งชีวมวล เป็นต้น เป็นแหล่งพลังงานปฐมภูมิที่สามารถผลิตและจ่ายพลังงานเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป เช่น ไฟฟ้าและความร้อนหรือความเย็น จากแหล่งพลังงานเดียวกัน เพื่อใช้เองในกิจการหรือจำหน่าย
 
คุณสมบัติเบื้องต้น
1.  มีการใช้งานจริง
2.  ดำเนินการมาแล้วอย่างน้อย 1 ปี
3.  เป็นโครงการที่ไม่เคยได้รับรางวัล Thailand Energy Awards
 
เกณฑ์การตัดสิน
 
  1 ด้านเทคนิค 25  
  2 ความสามารถในการแข่งขันเชิงพาณิชย์ 25  
  3 ผลประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อม ประเทศชาติ และสังคม 25  
  4 ประโยชน์ที่ได้จากการสาธิตและการนำไปใช้งาน 25  
 
 
 
ประเภทโครงการพลังงานเชื้อเพลิงชีวภาพ (Biofuel)
หมายถึง โครงการที่นำเอาผลิตผลทางการเกษตร เช่น มันสำปะหลัง อ้อย น้ำมันปาล์ม ฯลฯ มาเป็นวัตถุดิบในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ
 
คุณสมบัติเบื้องต้น
1.  เป็นโครงการที่มีการใช้งานจริงและไม่ได้อยู่ในขั้นตอนวิจัย
2.  ดำเนินการมาแล้วอย่างน้อย 1 ปี
 
เกณฑ์การตัดสิน
 
  1 ด้านความคิดริเริ่ม 20  
  2 การคำนึงถึงประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม 20  
  3 การพิจารณาด้านเทคนิค เศรษฐกิจและการตลาด 20  
  4 แผนการดำเนินการและการบำรุงรักษา 20  
  5 รูปแบบการนำเสนอ 20  
 
 
ประเภทโรงงาน แบ่งเป็นโรงงานควบคุม และโรงงานนอกข่ายควบคุม
 
เกณฑ์การตัดสิน
 
  1 ความยั่งยืน (Sustainability) 35  
  2 ผลกระทบ (Impact) 30  
  3 ความสามารถในการนำไปใช้ได้อย่างแพร่หลาย (Replicability) 20  
  4 ความคิดริเริ่ม (Originality) 10  
  5 การนำเสนอ (Overall Presentation and Impression)  5  
 
 
 
ประเภทอาคาร แบ่งเป็น อาคารควบคุม อาคารนอกข่ายควบคุม และอาคารสร้างสรรค์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
 
เกณฑ์การตัดสิน : อาคารควบคุมและอาคารนอกข่ายควบคุม
 
  1 ความยั่งยืน (Sustainability) 35  
  2 ผลกระทบ (Impact) 30  
  3 ความสามารถในการนำไปใช้ได้อย่างแพร่หลาย (Replicability) 20  
  4 ความคิดริเริ่ม (Originality) 10  
  5 การนำเสนอ (Overall Presentation and Impression)  5  
 
 
 
อาคารสร้างสรรค์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (อาคารใหม่ , อาคารที่ปรับปรุงด้านอนุรักษ์พลังงาน และอาคารที่ออกแบบสำหรับภูมิอากาศร้อนชื้นและอาคารเขียว)
 
เกณฑ์การตัดสิน
 
  1 การจัดสภาพแวดล้อมของอาคาร (Overall site design)    
  2 ผลการอนุรักษ์พลังงาน (Energy Saving Achieved)***    
  3 ด้านสถาปัตยกรรม (Passive Design)    
  4 ด้านวิศวกรรม (Active Design)    
  5 ระบบการจัดการพลังงานและการบำรุงรักษา
   (Management and Maintenances)
   
  6 ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact)    
 

หมายเหตุ    ***เกณฑ์การพิจารณาด้านผลการอนุรักษ์พลังงาน (Energy Saving Achieved)   
                จะพิจารณาเฉพาะประเภทอาคารที่ปรับปรุงด้านอนุรักษ์พลังงาน (Retrofitted Building) เท่านั้น

 
 
ประเภทแบ่งเป็น ผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ผู้ปฎิบัติการด้านพลังงาน
 
เกณฑ์การตัดสิน
 
  1 วิสัยทัศน์และนโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงาน 25  
  2 บทบาทด้านการอนุรักษ์พลังงานภายในหน่วยงาน 30  
  3 บทบาทด้านการอนุรักษ์พลังงานภายนอกหน่วยงาน 10  
  4 การส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรด้านอนุรักษ์พลังงานในหน่วยงาน/การพัฒนา      ตนเองด้านอนุรักษ์พลังงาน 20  
  5 ผลงาน/โครงการที่โดดเด่นด้านอนุรักษ์พลังงาน 15  
 
 
 
ประเภททีมงานด้านพลังงาน
 
เกณฑ์การตัดสิน
 
  1 โครงสร้างทีมงาน    
  2 แนวคิดด้านการอนุรักษ์พลังงาน/พลังงานทดแทน    
  3 กิจกรรมด้านการอนุรักษ์พลังงาน/พลังงานทดแทน
   -  ด้านเทคนิค
   -  การสร้างแรงจูงใจ
   
  4 การมีส่วนร่วมของทีมงาน    
 
 

กลุ่มทั่วไป
(หน่วยงานภาครัฐ/รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน และผู้สนใจทั่วไป)
 
เกณฑ์การตัดสิน
 
  1 แนวคิด     25  
  2 ผลที่ได้รับ
   2.1 ด้านการอนุรักษ์พลังงาน
   2.2 ด้านเศรษฐศาสตร์
   2.3 ด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม
   2.4 คุณภาพงาน
   2.5 ความน่าเชื่อถือ 30
    30
       10
        5
        5
        5
        5
 
  3 ศักยภาพการขยายผล     25  
  4 ประโยชน์ที่มีต่อประเทศ     20  
 
 
 

สถาบันการศึกษา
(ระดับมัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา)
 
เกณฑ์การตัดสิน
 
  1 แนวคิด     30  
  2 ผลที่ได้รับ
    2.1 ด้านการอนุรักษ์พลังงาน
    2.2 ด้านเศรษฐศาสตร์
    2.3 ด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม
    2.4 ความน่าเชื่อถือ
    25
       10
        5
        5
        5
 
  3 ศักยภาพการขยายผล     25  
  4 ประโยชน์ที่มีต่อประเทศ     20  
 
 
 
 
ประเภทสถาบันการศึกษา
ประเภทพลังงานสร้างสรรค์ หมายถึง โครงการหรือผลงานในด้าน การศึกษา การวิจัย หรือการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ หรือการพัฒนาหรือการปรับปรุงโดยการนำเทคโนโลยีที่มีอยู่แล้วมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในด้าน การอนุรักษ์พลังงานหรือการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานหรือการพัฒนาด้านพลังงานทดแทน
 
เกณฑ์การตัดสิน
 
  1 การส่งเสริมสนับสนุนด้านวิชาการและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน
   /พลังงานทดแทน
   
  2 การสนับสนุนกิจกรรมด้านการอนุรักษ์พลังงาน/พลังงานทดแทน
   2.1   การพัฒนาบุคลากร (การฝึกอบรม สัมมนา)
   2.2   การจัดทำสื่อและเผยแพร่การอนุรักษ์พลังงาน/พลังงานทดแทน
          (ด้านวิชาการ ความรู้ และเทคโนโลยี)
   2.3   การจัดกิจกรรมด้านการอนุรักษ์พลังงาน/พลังงานทดแทน
          -   ภายนอกองค์กร
          -   ภายในองค์กร
   
 
 
 
ประเภท สมาคม /องค์กร /หน่วยงาน
 
เกณฑ์การตัดสิน
 
  1 การพัฒนาบุคลากร (การฝึกอบรม สัมมนา)    
  2 การจัดทำสื่อและเผยแพร่ความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงาน/พลังงานทดแทน
  (ด้านวิชาการ และเทคโนโลยี)
   
  3 การจัดกิจกรรมด้านการอนุรักษ์พลังงาน/พลังงานทดแทน
   -   ภายนอกองค์กร
   -   ภายในองค์กร
   
  4 กิจกรรม/โครงการที่โดดเด่นด้านอนุรักษ์พลังงานหรือพลังงานทดแทน    
 
 
 
ประเภทสื่อโทรทัศน์/สื่อวิทยุ
 
เกณฑ์การตัดสิน
 
  1 เนื้อหาที่มีส่วนส่งเสริม สนับสนุนการอนุรักษ์พลังงาน/พลังงานทดแทน    
  2 การจัดสรรเวลาที่ให้ในรายการ    
  3 จำนวนรายการที่นำเสนอ    
  4 กิจกรรม/โครงการที่โดดเด่นด้านอนุรักษ์พลังงานหรือพลังงานทดแทน    
  5 มีวิธีการนำเสนอที่น่าสนใจ    
 
 
 
ประเภทสื่อหนังสือพิมพ์/สื่อนิตยสาร
 
เกณฑ์การตัดสิน
 
  1 เนื้อหาที่มีส่วนส่งเสริม สนับสนุนการอนุรักษ์พลังงาน/พลังงานทดแทน    
  2 มีการนำเสนอที่สม่ำเสมอ    
  3 ขนาดของบทความที่นำเสนอ    
  4 การออกแบบสร้างสรรค์น่าสนใจ    
  5 การใช้สำนวนภาษา    
  6 ตำแหน่งการนำเสนอ    
 
 
 
 
 

โครงการประกวดสุดยอดพลังงานไทยระดับสากล ประจำปี 2024